0
รวม 0.00 ฿
 x 

Your shopping cart is empty!

รวม 0.00 ฿

FREE DELIVERY !

3,000 บาทขึ้นไป*

Technical Support

ทดลองสินค้าหน้าร้าน บริการหลังการขาย

OPEN ( MON-SAT )

8.00-17.30(จ-ศ) 9.00-15.30(เสาร์)

Resistance Meter

  • Milliohm Meters

    Milliohm Meters

    Milliohm Meter

    What is a Milliohm?

    The units of measure for resistances less than 1 Ohm are Milli- and Micro-Ohms. One milliohm (1mΩ) is equal to one thousandth of an ohm (0.001 Ω). One microohm (1μΩ) is equal to one millionth of an ohm (0.000001 Ω). For example, 0.5 ohms (one half an ohm) is equal to 500mΩ.

    Why bother measuring resistances so low? 

    It may seem like too small a resistance to be of any consequence but many safety standards (UL, CSA, VDE, etc.) require that such resistances be measured during the manufacture of consumer products, hand tools, and many appliances. A good example is the testing of kitchen appliances.

    Many appliances require AC power (115 or 230VAC signals) and although AC signals are not supposed to come in contact with the user, accidents and faults can arise. To overcome these problems, manufacturers provide ground paths in appliances to carry high potentials to ground, away from the user in the event of a product fault. If even the slightest amount of resistance is present in such paths, injury can result. Milliohm measurements are also useful in the development of electronic components such as capacitors and inductors.

    Milliohm Meter

    Why are 4-wire connections required when making milliohm measurements?

    Test leads always introduce a small amount of additional resistance into a measurement. This is acceptable in non-critical measurements such as megohm resistances. However, when measuring milliohms in a critical application, any additional
    resistance can render the measurement useless. This is why 4-wire (Kelvin) connections are imperative.

    380560

    380580

     
     

    .

  • เครื่องวัดความต้านทานดิน

     

    Resistance Tester

     

    เครื่องวัดความต้านทานดิน

    การต่อลงดินของระบบไฟฟ้ากำลังเป็นข้อกำหนดทางมาตรฐานวิศวกรรมไฟฟ้าโดยมีเหตุผลเพื่อการป้องกันระบบไฟฟ้าเมื่อเกิดข้อบกพร่องในการทำงานขึ้น ทำให้เกิดความปลอดภัยต่อผู้ใช้งาน  สำหรับระบบงานที่ต้องการความมั่นคงเชื่อถือได้สูง  เช่นระบบคอมพิวเตอร์ขององค์กรทางการเงินการธนาคาร หรือการใช้ระบบออนไลน์ รวมถึงระบบที่มีการใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่มีความไวของสัญญาณในการทำงานและต้องการความแม่นยำสูง ดังนั้นการมีมาตรฐานการต่อลงดิน เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและความเหมาะสม ทางเทคนิคใน การออกแบบ การติดตั้งการตรวจสอบและทดสอบ การบำรุงรักษา วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการต่อลงดิน จึงเป็นสิ่งที่มีความสำคัญมากในระบบไฟฟ้าในปัจจุบันนี้

    Tester

    การเลือกใช้ครื่องวัดความต้านทานดิน

    Resistance Meter ในปัจจุบันถูกออกแบบมาให้มีความสะดวกรวดเร็วและฟังก์ชันการใช้งานที่หลากหลาย  ซึ่งจะช่วยให้การตรวจสอบและทดสอบระบบการต่อลงดินมีประสิทธิภาพมากขึ้น เพื่อเป็นการช่วยในการป้องกันระบบไฟฟ้าเมื่อเกิดข้อบกพร่อง   ซึ่งอาจก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้ใช้ไฟฟ้า เกิดการสูญเสียทั้งทางชีวิตและทรัพย์สิน อาจเป็นสาเหตุของการเกิดไฟไหม้ได้   ด้วยข้อดีหลายๆ ประการของ เครื่องวัดความต้านทานดิน  และง่ายต่อการใช้งาน  จึงเป็นที่นิยมใช้อย่างแพร่หลายในระบบโรงงานอุตสาหกรรม และที่เกี่ยวข้อง อย่างไรก็ดีการเลือกใช้ เครื่องวัดความต้านทานดิน   รุ่นใด ยี่ห้อใด นอกเหนือจากประโยชน์ใช้สอยของแต่ละรุ่นแล้ว ต้องคำนึงถึงมาตรฐานการรองรับ และบริการหลังการขายด้วย

     

     

     

Contact Us