0
รวม 0.00 ฿
 x 

Your shopping cart is empty!

รวม 0.00 ฿

FREE DELIVERY !

3,000 บาทขึ้นไป*

Technical Support

ทดลองสินค้าหน้าร้าน บริการหลังการขาย

OPEN ( MON-SAT )

8.00-17.30(จ-ศ) 9.00-15.30(เสาร์)

Sound Level Meter

  • About Sound Meters

    About : Sound Meters

    Normal

    A Weighting

    C Weighting

    Frequency Hz

    dB

    dB

    10

    -70.4

    -14.3

    12.5

    -63.4

    -11.2

    16

    -56.7

    -8.5

    20

    -50.5

    -6.2

    25

    -44.7

    -4.4

    31.5

    -39.4

    -3

    40

    -34.6

    -2

    50

    -30.2

    -1.3

    63

    -26.2

    -0.8

    80

    -22.5

    -0.5

    100

    -19.1

    -0.3

    125

    -16.1

    -0.2

    160

    -13.4

    -0.1

    200

    -10.9

    0

    250

    -8.6

    0

    315

    -6.6

    0

    400

    -4.8

    0

    500

    -3.2

    0

    630

    -1.9

    0

    800

    -0.8

    0

    1000

    0

    0

    1250

    0.6

    0

    1600

    1

    -0.1

    2000

    1.2

    -0.2

    2500

    1.3

    -0.3

    3150

    1.2

    -0.5

    4000

    1

    -0.1

    5000

    0.5

    -1.3

    6300

    -0.1

    -2

    8000

    -1.1

    -3

    10000

    -2.5

    -4.4

    12500

    -4.3

    -6.2

    16000

    -6.6

    -8.5

    20000

    -9.3

    -11.2

        


    How Sound Meters Work

    Sound level meters measure sound pressure (waves) by taking sound in through a microphone and processing it with a filter.
    This filter gives a “weighting” to the frequencies which make up
    the sound. The weightings normally found on sound survey
    meters are “A” and “C”. The “A” weighting is used by most rlegulatory agencies as the standard filter through which all the frequencies that can make up sound are filtered. The “weighted” intensity of the sound is then expressed in decibels (dB) by the meter. For the frequency weightings for the “A” and “C” filters on Sper Scientific sound meters, see the chart to the left.

    Sound Meters Are Used By:

    Industrial Hygienists
    Measuring noise exposure in the workplace in compliance with OSHA hearing conservation program. Safety alarm testing.

    Sound Engineers
    Measure acoustics in interior design, sound system installation, sound proofing.

    Construction Engineers
    Municipal code compliance.

    Industrial Quality Control
    Measuring sound levels of bearings, machinery and other
    products.

    Environmental Scientists
    Noise pollution from traffic, airports, machinery, etc.

    Physics Laboratories
    Sound wave measurements.
     

     

     

     

     

     

    .

  • CLASS 1 และ CLASS 2

    ข้อแตกต่างระหว่างเครื่องวัดเสียง class 1 และ class 2

    ตามมาตฐานการวัดค่าต่าง เช่น IEC 61672-1:2002 or BS EN 61672-1:2003 ได้กำหนดหลักเกณฑ์ ของเครื่องมือที่ใช้วัดค่าอย่างกว้างๆ ซึ่งเครื่องมือจะ

    ต้องออกแบบให้ได้ตามข้อกำหนดที่ระบุ ซึ่งข้อกำหนดต่างๆทางด้านเทคนิค ที่ค่อนข้างซับซ้อนและความคลาดเคลื่อนของการวัดต่างกัน ซึ่งมาตรฐานปัจจุบัน IEC 61672-1:2002 ได้กำหนดไว้ 2 ระดับของค่าความคลาดเคลื่อน ซึ่งถูกเรียกว่า CLASS 1 และ CLASS 2

    ในการออกแบบ เครื่องมือวัด เครื่องมือควรจะวัดค่าได้ถูกต้องตามค่าเสียงจริง แต่ในความเป็นจริง อุปกรณ์ที่ประกอบเป็นเครื่องวัดเสียงก็มีค่าความแม่นยำและค่าเบี่ยงเบนของแต่ละตัว

    อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้ใน เครื่องวัดเสียง เช่น ตัวต้านทาน (Resister) , คาปาซิเตอร์ และ ตัวประมวลผล จะมีค่าความเบี่ยงเบนของแต่ละตัวต่างกัน และ มีองค์ประกอบอื่นๆ ร่วมอีกด้วย ตัวอย่างเช่น ค่า uncertainty ในการปรับเทียบเครื่องมือวัดเสียง เครื่องมือที่ใช้ทดสอบ ซึ่งอุปกรณ์ทุกชนิด ก็มีค่าความเบี่ยงเบนในตัวเอง ดังนั้นค่าเบี่ยงเบนต่างๆ ก็จะถูกรวมเข้าไปใน เครื่องวัดเสียง

    เนื่องจากค่าเบี่ยงเบนต่างๆ โรงงานผู้ผลิตเครื่องวัดเสียง จึงยอมให้มีค่าเบี่ยงเบน จากค่าเป้าหมายของการออกแบบได้  ยกตัวอย่างเช่น ตามมาตรฐาน IEC 61672-1:2002 ได้กำหนดค่าความเบี่ยงเบนดังนี้

    • ที่ความถี่ 1kHz ค่าความเบี่ยงเบนของ CLASS 1 คือ +/-1.1dB และ CLASS 2 คือ +/-1.4dB
    • ที่ความถี่ต่ำกว่าและ สูงกว่าย่านความถี่มากๆ ค่าความเบี่ยงเบนก็จะสูง ที่ 20Hz คือ +/-2.5dB สำหรับ CLASS 1 และ +/-3.5dB สำหรับ CLASS 2
    • ที่ 16Hz ค่าความเบี่ยงเบนจะอยู่ที่ +2.5dB , -4.5dB สำหรับ CLASS 1 และ +5.5dB และ -∞ dB สำหรับ CLASS 2

    อย่างที่เห็น ที่ความถี่ต่ำหรือสูงสุดของช่วงความถี่  เครื่องวัดเสียง CLASS 1 จะมีการตอบสนองและแม่นยำมากกว่า CLASS 2 ดังนั้นเครื่องมือวัด CLASS 1 จึงเหมาะกับการวัดค่าช่วงความถี่กว้างๆ มากกว่า เครื่องวัดเสียง CLASS 2

    ดังนั้น เราจะใช้เครื่องวัดเสียง CLASS 1 หรือ 2 มันขึ้นอยู่กับลักษณะงาน ที่ใช้ เครื่องมือวัด ยกตัวอย่างเช่น ในปี 2005 เครื่องวัดเสียงที่ใช้ในการวัดความดังเสียงในพื้นที่ทำงาน จะต้องได้มาตรฐาน อย่างต่ำ CLASS 2 ของ BS EN 61672-1:2003 หรือ BS EN 60804:2001

    สำหรับงานทางด้าน เสียงรบกวนด้าน สิ่งแวดล้อม เครื่องมือวัดเสียง ควรเป็น CLASS 1 ยกตัวอย่างเช่น มาตฐาน ISO 20906:2009 การวัดค่าเสียงในสนามบิน เครื่องวัดเสียง จะต้องได้มาตรฐาน IEC 61672-1 for a class 1

     

  • FAQ เครื่องวัดเสียง

    การใช้งาน เครื่องวัดเสียง

    หลายคนสงสัย ในการใช้งานเครื่องวัดเสียง ทางด้านความปลอดภัย หรือ ข้อกำหนดทางกฎหมาย จึงขอสรุปคำถามที่พบบ่อยในการใช้งานเครื่องวัดเสียงดังนี้

    •ควรเลือกเครื่องวัดเสียงชนิดไหน สำหรับการวัดตามข้อกำหนด OSHA

    เครื่องวัดเสียง ต้องเป็นแบบ Type 2 เพราะ เครื่องวัดเสียงชนิดนี้ ผลิตตามมาตรฐาน ANSI และ IEC ซึ่งถูกกำหนดตาม OSHA

    เครื่องวัดเสียงวัดในช่วงความถี่เท่าใด

    ช่วงความถี่ ในการวัดคือ 31.5 Hz ถึง 8 KHz

    •จำเป็นที่ต้องซื้อ เครื่องปรับเทียบ (sound calibrator) เครื่องวัดเสียงหรือไม่ 

    ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์การใช้งาน หากตามข้อกำหนดของ OSHA เครื่องวัดเสียงจะต้องทำการปรับเทียบทั้งก่อนและหลังการใช้งาน

    •อะไรคือความต่างระหว่าง Weighting A และ C

    A Weighting คือการวัดเสียงคล้ายๆกับ สิ่งที่หูคนเราได้ยิน ซึ่งเป็นไปตามข้อกำหนด OSHA และ กฏหมายเกี่ยวกับเสียง    ส่วน C Weighting ส่วนใหญ่จะใช้ สำหรับวัดค่าสูงสุด 

  • NEW PRODUCT

     

    New ProductNew ProductNew ProductNew ProductNew Product

  • Sound Level Meters

    Sound Level Meters

    Sound Level Meters

    What is a Sound Level Alert?

    The Extech Sound Level Alert displays sound level readings on an extra large LCD ideal for viewing from a distance. Sound level is displayed in db (decibels) and also represented by bright, color-coded status LEDs. The user can program a sound level limit that when exceeded will change the LEDs from green to fl ashing red and display an ‘OVER’ message.

    How are Sound Level Alerts used?

    The Sound Level Alert can be placed in auditoriums, hospital wards, class rooms, and other school areas. When the noise level reaches a predetermined alarm level, the alert LEDs will warn the occupants. The relay output permits the user to connect an external audio or visual device for more dramatic, customized alerts.

    What is a Sound Level Datalogger?

    The HD600 Datalogging Sound Level meter measures, displays, and stores sound level measurement data. Up to 20,000 readings can be stored in the meter, each with the date and time stamp. Readings can be recalled on the meter’s display or they can by downloaded to a PC. Included software permits the user to view, graph, print, and export data to a spreadsheet.

    How are Sound Level Dataloggers used?

    Since a Sound Level Datalogger can automatically store readings at a user-programmable sample rate, they are the ideal tool for taking readings ‘unattended’ for long periods of time. After readings are stored they can be transferred to a PC to be viewed, graphed, printed, or exported to a spreadsheet for further analysis. This capability can be applied to many applications such as airport noise analysis, construction zone monitoring, traffi c intersections, concert venues, environmental impact studies, and many others.

    Sound Level Meter

    What is ‘A’ and ‘C’ Frequency Weighting?

    Frequency “weighting” selections allow the user to choose how the meter will treat sound measurements over the meter’s specifi ed frequency range. In ‘A’ weighting mode, the meter gives more “weight” to certain frequencies. In other words, sound levels at certain frequencies will be boosted or cut (to match how the human ear responds to sound). “A” weighting
    is useful for OSHA compliance testing. The “C” weighting selection provides a more “fl at” response, meaning that all frequencies are treated basically the same (no boosting or cutting of sound level). “C” weighting is suitable for machine analysis and diagnostics. 

    What is the signifi cance of FAST / SLOW Response Time?

    Response Time selections refer to how fast or slow the meter will respond to sound. Most meters have a slow and a fast selection. “Slow” response is most often used for hearing conservation/OSHA programs and is an “averaging” of sound level over time. “Fast” response is most commonly used for product noise reduction efforts and can detect quick noise bursts
    (For example: fireworks).

    407732HD600

     
     
     

    .

  • Training เครื่องวัดเสียง Datalogger Sound Level Meter รุ่น DT-8852 @จังหวัดกรุงเทพมหานคร

    Project: Training เครื่องวัดเสียง บันทึกข้อมูล Datalogger Sound Level Meter รุ่น DT-8852 แบรนด์ CEM

    สถานที่: จังหวัดกรุงเทพมหานคร

    วันที่ 15 พฤศจิกายน 2562

    DT-8852

    • DT-8852_1511191
    • DT-8852_1511192
  • การวัดระดับเสียง (SLM) คืออะไร

    เครื่องวัดเสียง

    การวัดระดับเสียง (SLM) คืออะไร

         เสียง (Sound) คือ คลื่นเชิงกลที่เกิดจาก การสั่นสะเทือน ของวัตถุเป็นอนุกรม โดยเคลื่อนที่ผ่านตัวกลางที่เป็นอากาศ เสียงสามารถเดินทางผ่านสะสารในของแข็ง ของเหลว และก๊าซได้ แต่ไม่สามารถเดินทางผ่านสุญญากาศได้

    ound

    ประเภทของเสียง

    เสียงสามารถแบ่งออกได้เป็น 4 ประเภท
         1.เสียงที่ดังสมํ่าเสมอ (Steady-state noise)
         2.เสียงที่เปลี่ยนแปลงระดับเสมอ (Fluctuating noise)
         3.เสียงกระทบ (Impulsive noise)
         4.เสียงที่ดังเป็นระยะ (Intermittent noise)

    การวัดระดับเสียง (SLM) คือ การวัดที่การแปรผันของความกดอากาศเพียงเล็กน้อยที่ส่งผลต่อระดับเสียงที่ตัวไมโครโฟนเครื่องวัดเสียงสามารถตรวจจับได้ โดยตัวเครื่องวัดเสียงจะรับสัญญาณเสียงแปลงเป็นสัญญาณทางไฟฟ้าเข้าสู่วงจรอิเล็กทรอนิกส์ ในการแสดงผล

    เครื่องวัดระดับเสียง (Sound Level Meter) คือ เครื่องวัดเสียงรบกวน เป็นอุปกรณ์ขนาดเล็ก น้ำหนักเบา ที่หนีบเข้ากับเข็มขัดของบุคคลได้หรือถือวัดได้ เครื่องวัดปริมาตรจะจัดเก็บข้อมูลระดับเสียงและดำเนินการโดยเฉลี่ย มันมีประโยชน์ในอุตสาหกรรมและห้องทั่วไปที่เสียงมักจะแตกต่างกันไปตามระยะเวลา  เพื่อนำไปวิเคราะห์หาสาเหตุในการเกิดเสียงรบกวนในขั้นตอนต่างๆ

    เครื่องวัดเสียง

                         สินค้ารุ่น 407732                          สินค้ารุ่น ST-107S                      สินค้ารุ่น DT-805 

     

    เครื่องวัดเสียง SLM มี 2 ประเภท คือ

         SLM ประเภท 1 เครื่องวัดเสียงที่ถูกต้องและแพงกว่านั้น ส่วนใหญ่จะใช้ในงานวิศวกรรม ห้องปฏิบัติการและงานวิจัย 
         SLM ประเภท 2 เครื่องวัดเสียงที่มีความแม่นยำน้อยกว่า SLM ประเภท 1 จะเน้นวัดเป็นสภาพแวดล้อมทั่วไป

    การเลือก MODE ในการวัด (SLM) 

         การวัดเสียงนั้นเครื่องส่วนใหญ่จะมีอยู่ด้วยกัน 2 โหมด เป็นแบบ Fast และ Slow โดยการจะวัดเสียงไม่ควรอยู่ในสภาพแวดล้อมที่มีเสียงดังแทรก  และโหมดการเลือกวัดควรเป็นโหมด Slow

    หลักการวัดเครื่องวัดเสียง แบ่งเป็น 2 โหมด

         1.dB (A)  คือ  การวัดเสียงที่เกิดจากจากเครื่องจักร เครื่องยนต์  เครื่องใช้ไฟฟ้าต่าง  เป็นเสียงรบกวนที่ดังเป็นระยะๆหรือต่อเนื่อง
         2.dB (C)  คือ  การวัดเสียงที่เกิดจากสภาพแวดล้อมทั่วไป เช่น เสียงคนพูดคุยกัน  เสียงสัตว์ต่างๆ

    ระดับในการใช้เครื่องวัดเสียง ให้ถือตัวไมโคโฟนรับเสียงอยู่ในระดับประมาณหัวไหล่   โดยทิศทางของหัวไมโครโฟนอยู่ในทิศทางใดก็ได้
      
     


    สินค้าแนะนำ เครื่องวัดเสียง (Sound Level Meter)

     

    เสียง เครื่องวัด


                                              สินค้ารุ่น SW-525A                                                                                            สินค้ารุ่น GM1356

  • เสียงและอันตรายต่อสุขภาพที่เกิดจากเสียง

    Sound

     

    เสียงและอันตรายต่อสุขภาพที่เกิดจากเสียง

     

              เสียง (Sound) คือ พลังงานรูปหนึ่งที่เกิดจากการสั่นสะเทือนของโมเลกุลของอากาศ ทำให้เกิด การอัดและขยายสลับกันของโมเลกุลอากาศ ความดันบรรยากาศ

    จึงเกิดการเปลี่ยนแปลงตามการเคลื่อนที่ ของโมเลกุลอากาศ เรียกว่า คลื่นเสียง

              ความถี่ของเสียง (Frequency of Sound) หมายถึง จำนวนครั้งของการเปลี่ยนแปลงความดันบรรยากาศตามการอัดและขยายของโมเลกุลอากาศในหนึ่งวินาที

    หน่วยวัด  คือ รอบต่อวินาที หรือ เฮิรตซ์ (Hertz ; Hz)

              เสียงดัง (Noise) หมายถึง เสียงซึ่งไม่เป็นที่ต้องการของคนเพราะทำให้เกิดการ รบกวนการรับรู้เสียง ที่ต้องการหรือความเงียบ และเป็นเสียงที่เป็นอันตรายต่อการ

    ได้ยิน ความดังเสียงขึ้นอยู่กับความสูงหรือ แอมปลิจูด (Amplitude) ของคลื่นเสียง ส่วนความทุ้มแหลมของเสียงขึ้นกับความถี่ของเสียง

    เดซิเบลเอ ; dBA หรือ เดซิเบล (เอ) ; dB(A) เป็นหน่วยวัดความดังเสียงที่ใกล้เคียงกับการตอบสนอง ต่อเสียงของหูมนุษย์

    TWA ; Time Weighted Average ค่าเฉลี่ยระดับความดังเสียงตลอดระยะเวลาการสัมผัสเสียง

     

    อันตรายต่อสุขภาพที่เกิดจากเสียง

              การได้รับหรือสัมผัสเสียงดังในระยะเวลานาน ก่อให้เกิด การสูญเสียการได้ยิน หรือ ความสามารถในการได้ยินเสียงลดลงเมื่อเปรียบเทียบกับคนที่มีการได้ยินปกติ

    การสูญเสียการได้ยิน เนื่องจากเสียงดังโดยทั่วไปขึ้นอยู่กับปัจจัย สำคัญ คือ ระดับความดังเสียง ชนิดของเสียง ระยะเวลาที่ได้รับ เสียงต่อวันและตลอดอายุการทำงาน

    นอกจากนี้ยังพบปัจจัยอื่นที่มีส่วนเกี่ยว ข้องทำให้เกิดเกิดการสูญเสีย การได้ยิน เช่น ความไวต่อเสียงในแต่ละบุคคล อายุ สภาพแวดล้อมของแหล่งเสียง ฯลฯ

              การสูญเสียการได้ยิน แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ การสูญเสียการได้ยินแบบชั่วคราว และการสูญเสีย การได้ยินแบบถาวร การสูญเสียการได้ยินแบบชั่วคราว จะเกิด

    ขึ้นจากการสัมผัสเสียงดังเป็นระยะเวลาหนึ่ง ทำให้เซลล์ขนกระทบกระเทือนไม่สามารถทำงานได้ชั่วคราวแต่เซลล์ขนจะกลับสู่สภาพเดิมได้หลังสิ้นสุดการ สัมผัสเสียงดัง

    เป็นเวลาประมาณ 14 – 16 ชั่วโมง แต่การสูญเสียการได้ยินแบบถาวร จะไม่สามารถทำการ รักษาให้การได้ยินกลับคืนสภาพเดิมได้

              มนุษย์จะได้ยินเสียงในช่วงความถี่ตั้งแต่ 20 – 20,000 เฮิรตซ์ ถ้าต่ำกว่า หรือสูงกว่านี้จะไม่สามารถ รับรู้ได้โดยทั่วไปการสูญเสียการได้ยินจะเริ่มที่ความถี่ 4,000

    เฮิรตซ์เป็นลำดับแรก ในระยะเวลาต่อมา จึงจะสูญเสียการได้ยินที่ความถี่สูงกว่าหรือ ต่ำกว่า ที่ความถี่ 4,000 เฮิรตซ์ ส่วนความถี่ของการสนทนาซึ่งมี ความถี่ต่ำ คือ ที่ 500

    ถึง 2,000 เฮิรตซ์ จะสูญเสียช้ากว่า ที่ความถี่สูง

              วิธีการสังเกตเบื้องต้นว่าสิ่งแวดล้อมการทำงานของเรา มีเสียงดังที่อาจเป็นอันตรายต่อการได้ยิน หรือไม่ ทดสอบได้โดยยืนห่างกัน 1 เมตร แล้วพูดคุยกันด้วยเสียง

    ปกติ ถ้าไม่สามารถได้ยินและต้องพูดซ้ำๆ หรือตะโกนคุยกัน แสดงว่าสภาพแวดล้อมการทำงานนั้นมีความดังเสียงประมาณ 90 เดซิเบลเอ หรือมากกว่าเสียงดังตลอดเวลาการ

    ทำงาน อาจทำให้เกิดอุบัติเหตุในการทำงานได้ทั้งนี้เพราะเสียงดังทำให้ พฤติกรรม ส่วนบุคคลเปลี่ยนแปลง เช่น บางคนอาจรู้สึกเชื่องช้า ต่อการตอบสนองต่อสัญญาณต่าง ๆ

    ความว้าวุ้นใจจนทำงานผิดพลาดจนเกิดอุบัติเหตุขึ้น นอกจากนี้ยังรบกวนการติดต่อสื่อสาร ทำให้ผู้ปฏิบัติงาน ไม่ได้ยินสัญญาณอันตราย ที่ดังขึ้นหรือไม่ได้ยินเสียงเตือนของ

    เพื่อนพนักงานจนอาจทำให้เกิดอุบัติเหตุขึ้นได้

     

     

Contact Us