0
รวม 0.00 ฿
 x 

Your shopping cart is empty!

รวม 0.00 ฿

FREE DELIVERY !

3,000 บาทขึ้นไป*

Technical Support

ทดลองสินค้าหน้าร้าน บริการหลังการขาย

OPEN ( MON-SAT )

8.00-17.30(จ-ศ) 9.00-15.30(เสาร์)

เครื่องวัดสนามแม่เหล็ก

  • EMF/ELF Meters & Multimeter Adaptors

    EMF/ELF Meters & Multimeter Adaptors

    EMF/ELF Meter

    What is an EMF/ELF Meter?

    An EMF/ELF Meter measures the intensity (not the direction) of a electromagnetic radiation fi eld in the 0.1 to 199.9mG (milli-Gauss) range. Radiation levels present at video terminals, fans, wiring harnesses, power lines, etc. can be accurately measured. EMF is the acronym for ElectroMagnetic Field. ELF is the acronym for Extremely Low Frequency.

    How do they operate?

    The electromagnetic radiation sensor is located behind the front panel just below the LCD. Simply turn on the unit, position the meter, and read the 0.5” LCD displayed value. Since this is a single axis meter, up to three readings may be necessary to obtain the full electromagnetic 3-axes spectrum. An over-range indicator lets you know when the reading is above
    200mG.

    EMF/ELF Multimeter Adaptor

    Multimeter adaptors monitor EMF/ELF and connect to any multimeter (200mV or 2VDC range) for display purposes. The sensor outputs a 1mV per count signal to the multimeter or even to a chart recorder. LED indicator provides power status and battery check information.

    Applications 

    • Power utility companies
    • Manufacturers of electromagnetic equipment such as fans, generators, and video monitors
    • Computer workstations
    • Wiring verifi cation and troubleshooting
    • FCC compliance
    • Magnetic tape head maintenance

    480824480823

     

     
     

    .

  • Training เครื่องวัดสนามแม่เหล็ก AC/DC Magnetic Meter รุ่น MG-3003SD @Hitachi Chemical (Asia) Thailand Co.,Ltd.

    Project: Training เครื่องวัดสนามแม่เหล็ก AC/DC Magnetic Meter รุ่น MG-3003SD แบรนด์ LUTRON

    สถานที่: Hitachi Chemical (Asia) Thailand Co.,Ltd. / จังหวัดฉะเชิงเทรา  

    วันที่ 12 พฤศจิกายน 2562

    MG-3003SD

    • MG-3003SD_121119
  • การประยุกต์ใช้อินฟราเรดในอุตสาหกรรม

    การประยุกต์ใช้อินฟราเรดในอุตสาหกรรม

     

    การประยุกต์ใช้อินฟราเรดในอุตสาหกรรม

     

            ก่อนที่จะนำอินฟราเรดมาทำการการประยุกต์ใช้นั้นเรามาทำความรู้จักกันก่อนว่า อินฟราเรด หรือ คลื่นรังสีอินฟราเรดคืออะไร คลื่นรังสีอินฟราเรด

    (Infrared (IR) มีคลื่นรังสีความร้อน หรือรังสีใต้แดงเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ชนิดหนึ่งแผ่มาจากดวงอาทิตย์ ถูกค้นพบโดยนักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ คือ

    Sir William Herschel ในปี 1800 จากการทดลองวัดอุณหภูมิของแถบสีต่างๆ ที่เปล่งออกมาเป็นสีรุ้ง จากปริซึม และพบว่าอุณหภูมิความร้อนจะเพิ่มขึ้นตาม

    ลำดับ และสูงสุดที่แถบสีสีแดงการที่เขาเลื่อนเทอร์โมมิเตอร์จากแถบสีที่ไม่สว่างไปยังแถบสีสีแดง ซึ่งเป็นแถบสีที่สิ้นสุดของสเปกตรัมและอุณหภูมิสูงขึ้นเป็น

    ลำดับ ซึ่งขอบเขตดังกล่าวนี้เรียกว่า "อินฟราเรด" (ของเขตที่ต่ำกว่าแถบสีแดง) เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความยาวคลื่น 700 นาโนเมตร – 1 มิลลิเมตร ถี่

    ในช่วง 1011–1014 เฮิร์ตซ์ มีคุณสมบัติไม่เบี่ยงเบนในสนามแม่เหล็กไฟฟ้า ความถี่ยิ่งสูงมากขึ้นพลังงานก็สูงขึ้นตามไปด้วย เป็นคลื่นที่มีความถี่ถัดจากความถี่

    ของสีแดงลงมา มนุษย์จึงไม่สามารถมองเห็นรังสีอินฟราเรดได้ แต่สามารถรู้สึกถึงความร้อนได้ ในการการประยุกต์ใช้งานนั้น อินฟราเรดสามารถนำไปประยุกต์

    ใช้งานได้หลากหลายตัวอย่างที่จะพูดถึงนี้คือ กล้องอินฟราเรด โดยกล้องชนิดนี้จะมองไม่เห็นภาพจริง แต่มันจะจับพลังงานรังสีอินฟราเรด โดยพลังงานของ

    รังสีอินฟราเรด จะแผ่จากวัตถุส่งผ่านเลนส์ของกล้องถ่ายภาพความร้อน (Thermal Imaging Cameraและจะถูกโฟกัสโดยเลนส์ไปยังตัวตรวจจับ โดยที่  

    เซนเซอร์จะทำการแปลงรังสีอินฟราเรดให้อยู่ในรูปสัญญาณไฟฟ้า และหลังจากนั้นอิเลคทรอนิกส์เซนเซอร์จะทำการแปลงข้อมูลที่รับมาจากตัวตรวจจับ จึงจะ

    แสดงผลบนจอภาพได้ ซึ่งวัตถุที่ร้อนกว่าจะแสดงสีสว่าง และวัตถุที่เย็นกว่าจะแสดงสีมืดกว่า เนื่องจากพลังงานความร้อนจะสะท้อน (Refected) พื้นผิวที่แวววาว

    จึงทำให้กล้องถ่ายภาพความร้อนเกิดข้อจำกัด ที่ไม่สามารถมองผ่านแก้วได้ การใช้กล้องอินฟราเรดตรวจสอบในงานอุตสาหกรรม กล้องอินฟราเรดถูกนำไป

    ประยุกต์ใช้งานอย่างหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นเครื่องมือในการใช้ตรวจสอบในอุตสาหกรรม การบำรุงรักษาเชิงป้องกัน (Preventive Maintenance) และการบำรุง

    รักษาเชิงคาดการณ์ล่วงหน้า (Predictive Maintenance) เช่น ตรวจสอบว่าฉนวนถูกติดตั้ง ในสภาพที่ดี, หาตำแหน่งอากาศรั่วไหล, วงจรไฟฟ้าที่โอเวอร์โหลด,

    การตรวจสอบความร้อนที่สูญเสียในอาคาร, การหาตำแหน่งของสายไฟหรือท่อที่มีความร้อน, การตรวจสอบแบริ่ง, กล้องอินฟาเรดที่สามารถจับภาพได้แม้ใน

    เวลากลางคืน, การตรวจสอบการรั่วของฉนวนในอุปกรณ์ทำความเย็น เป็นต้น และยังสามารถวัดอุณหภูมิจากระยะไกลโดยใช้เครื่องวัดอุณหภูมิอินฟราเรด

    (Infrared Thermometer) ที่อ้างถึงอุณหภูมิจากส่วนหนึ่งของการแผ่รังสีความร้อน รังสีความร้อนที่ปล่อยออกมาจากวัตถุที่ถูกวัด เรียกว่า เครื่องวัด

    อุณหภูมิเลเซอร์ ถ้าเลเซอร์จะใช้เพื่อช่วยจุดมุ่งหมายที่วัดอุณหภูมิ เครื่องวัดอุณหภูมิแบบไม่สัมผัสหรือปืนอุณหภูมิที่สามารถวัดอุณหภูมิจากระยะไกล

    โดยจะทราบปริมาณของพลังงานอินฟราเรดที่ปล่อยออกมาจากวัตถุ เป็นต้น

     

  • การเลือกใช้เครื่องวัดสนามแม่เหล็กสนามไฟฟ้า (EMF/ELF Meter)

    เครื่องวัดสนามแม่เหล็กไฟฟ้า

    การเลือกใช้เครื่องวัดสนามแม่เหล็กสนามไฟฟ้า (EMF/ELF Meter)

    สนามแม่เหล็กและสนามไฟฟ้า (Electric and Magnetic Field: EMFs) หมายถึง เส้นสมมุติที่เขียนขึ้นเพื่อแสดงอาณาเขตและความเข้มของเส้นแรงที่เกิดขึ้น ระหว่างวัตถุที่มีความแตกต่างของศักย์ไฟฟ้าหรือแรงดันไฟฟ้า (เรียกว่า สนามไฟฟ้า) และที่เกิดขึ้นโดยรอบวัตถุที่มีกระแสไฟฟ้าไหล (เรียกว่า สนามแม่เหล็ก) บางครั้งเกิดขึ้นพร้อมกันเรียก สนามแม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagnetic Field: EMF)

    สนามแม่เหล็กไฟฟ้าสถิต  หรือ แม่เหล็กถาวร จะเรียกว่า (Static Field หรือ DC Field
    สนามแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีการเปลี่ยนตามเวลา(เกิดจากเครื่องใช้ไฟฟ้า)จะเรียกว่า (Dynamic Field หรือ AC Field)

    สนามแม่เหล็กไฟฟ้า

    สนามแม่เหล็กและสนามไฟฟ้าสามารถเกิดขึ้นได้ 2 ลักษณะคือ


    1. เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ เช่น สนามแม่เหล็กโลก คลื่นรังสีจากแสงอาทิตย์ คลื่นฟ้าผ่า คลื่นรังสีแกมมา เป็นต้น
    2. เกิดขึ้นจากการสร้างของมนุษย์   แบ่งออกได้เป็น 2 ชนิด คือ
    - แบบตั้งใจ คือสนามแม่เหล็กไฟฟ้าที่ตั้งใจสร้างขึ้นเพื่อที่จะใช้ประโยชน์โดยตรงจากคลื่นสนามแม่เหล็กไฟฟ้าที่สร้างขึ้นนี้
    - แบบไม่ได้ตั้งใจ คือสนามแม่เหล็กไฟฟ้าที่เกิดจากการใช้งานอุปกรณ์  โดยไม่ได้มีวัตถุประสงค์หลักที่จะใช้ประโยชน์โดยตรงจากสนามแม่เหล็กไฟฟ้าที่เกิดขึ้น

    การเลือกเครื่องวัดสนามแม่เหล็ก และ สนามไฟฟ้า

    สนามไฟฟ้าเกิดจากประจุหรือแรงดันที่ไหลในสายไฟโดยไม่สนใจกระแสไฟโดยจะวัดเป็นค่า(Volts per meter: V/m)
    สนามแม่เหล็กเกิดจากกระแสไฟฟ้าไหลในตัวนำหน่วยที่ใช้วัด คือ เกาส์ (Gauss: G) หรือ เทสลา (Tesla: T)

    เครื่องวัดสนามแม่เหล็ก

     

    ตัวอย่างเครื่องมือวัดค่าสนามไฟฟ้า รุ่น EMF450           ตัวอย่างเครื่องมือวัดค่าสนามแม่เหล็ก รุ่น MF100

     

    สนามแม่เหล็กไฟฟ้าเกิดจากกระแสไฟฟ้าไหลในตัวนำและแรงดันที่ไหลในสาย

    แผนภูมิ

            ผลกระทบของการสัมผัสสนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็กจากภายนอกต่อร่างกาย โดยหลักๆ แล้วจะขึ้นอยู่กับค่าความถี่และขนาดของสนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก ค่าความถี่เรียกง่ายๆ คือ จำนวนรอบการแกว่งของสัญญาณ  ตัวเครื่องวัดเกี่ยวกับสนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็กจะต้องเป็นเครื่องที่มีความถี่มาเกี่ยวข้อง  ส่วนใหญ่จะเน้นวัดใต้ สายส่งไฟฟ้า   จานคลื่นวิทยุ  เสาอากาศ เป็นต้น  

    หน่วยที่ใช้วัด คือ: V/m  mA/m , µW/m2 +   Hz

           การวิจัยและพัฒนาด้านความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อมเกี่ยวกับสนามแม่เหล็กไฟฟ้า โดยได้กำหนดระดับสูงสุดของสนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็กที่เกิดจากระบบไฟฟ้าความถี่ต่ำ (50 Hz) ที่ประชาชนสามารถสัมผัสได้อย่างปลอดภัยไว้ดังแสดงในตาราง

    Research

    เครื่องมือวัดค่าสนามไฟฟ้าสนามแม่เหล็ก จึงมีส่วนสำคัญเพื่อให้ตรงกับลักษณะงานและกำหนดค่าระดับความปลอดภัยแก่ผู้ใช้งาน

     

    ตัวอย่างเครื่องมือวัดค่าสนามไฟฟ้าสนามแม่เหล็ก

     

    เครื่องวัดสนามแม่เหล็ก

             TM-192D

    เครื่องวัดสนามแม่เหล็ก

             480826

             SDL900

     

Contact Us