Your shopping cart is empty!
เครื่องหมุนเหวี่ยง Centrifuge มีกี่แบบ?
เครื่องหมุนเหวี่ยง Centrifuge มีกี่แบบ?
เครื่องหมุนเหวี่ยง (Centrifuge) เป็นเครื่องมือสำหรับสร้างแรงเหวี่ยงหนีศูนย์กลาง เพื่อนำไปใช้แยกสารหรืออนุภาค โดยอาศัยหลักความแตกต่างของความหนาแน่น ภายใต้สนามแรงหนีศูนย์กลางอนุภาคจะตกตะกอนด้วยอัตราเร็วที่ไม่เท่ากัน การปั่นแยกตะกอน จึงต้องใช้เวลานานพอเพียงที่อนุภาคขนาดเล็กๆจะนอนก้นหมด จะแบ่งเป็น2ส่วน คือ ส่วน ตะกอน และส่วนของเหลว
ชนิดของเครื่องหมุนเหวี่ยง :
1. เครื่องหมุนเหวี่ยงความเร็วรอบต่ํา(low speed centrifuge)
นิยมใช้ทั่วไปในห้องปฎิบัติการ มีความเร็วไม่เกิน 6000 รอบ/นาที ส่วนใหญ่ใช้ในการปั่นแยกสารประเภทเซรั่ม การผสมครีมหรือน้ำยาทางด้านคลินิกหรือการวิจัย ปิโตรเลียม น้ำมันดิบ เป็นต้นมี 2 รูปแบบ
DM1424 |
DM0636 |
Clinical Centrifuge ใช้กับงานแยกยูเรีย ขนาดโรเตอร์ในการใช้งาน ตั้งแต่ 5ml / 7ml / 10ml / 15 ml ในการปั่นเหวี่ยง
|
MULTIPURPOSE CENTRIFUGE ใช้กับงานแยก เซรั่ม น้ำยาทางการแพทย์ ขนาดโรเตอร์ในการใช้งานตั้งแต่ 2ml / 10ml / 50ml / 100 ml ในการปั่นเหวี่ยงหลักการเหวี่ยงจะต้องเลือกความเร็วในตรงกับขนาดโรเตอร์ สามารถตั้งค่าแรง G ในการเหวี่ยงสารได้ |
2. เครื่องหมุนเหวี่ยงความเร็วรอบสูง(high speed centrifuge)
นิยมใช้ทั่วไปในห้องปฎิบัติการ มีความเร็วไม่เกิน 28000 รอบ/นาที ส่วนใหญ่ใช้ในการปั่นแยกสารประเภทตัวอย่างที่เป็นโลหิต การทดลองด้าน Bio-Chemisty เป็นต้น มี 2 รูปแบบ
DM0412 |
GTR10-1 |
HEMATOCRIT CENTRIFUGE ใช้กับงานแยกพลาสม่าจากตัวเลือด ขนาดโรเตอร์ในการใช้งาน ตั้งแต่ 1.5ml / 2ml ใช้เวลาสั้นในการตกตะกอนได้รวดเร็ว
|
HIGH SPEED REFRIGERATED CENTRIFUGE ใช้กับงานสารเคมีพันธุกรรมหรือโซลิคอยด์ในชีวเคมีที่ต้องการควบคุมอุณหภูมิในหลอดทดสอบ ช่วง -15 –40° C สามารถตั้งค่าแรง G ในการเหวี่ยงสารได้ใช้เวลาสั้นในการตกตะกอนได้รวดเร็ว
|
- track
- Knowledge ความรู้